รายละเอียด
หลักการและเหตุผล
การส่งออกและนำเข้าสินค้าในปัจจุบันมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้นตามการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจของประเทศและของโลก ประกอบกับการค้าวิถีใหม่ NEW NORMAL เป็นการค้าในระบบอิเล็กทรอนิกส์ ที่มีความสะดวก รวดเร็ว ผู้ปฏิบัติต้องมีความพร้อมในการประกอบธุรกิจอย่างชาญฉลาด ทันสมัย ตามการค้าของโลกที่เปลี่ยนไปเร็วมาก
สิ่งที่ผู้ประกอบการธุรกิจนำเข้า-ส่งออก, นักธุรกิจ, ผู้ผลิต, ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อต่างประเทศ, นายหน้าหรือตัวแทนการค้า, รวมทั้งพนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมดังกล่าวและผู้สนใจทั่วไป จำเป็นต้องศึกษาเรียนรู้ในเรื่องของการค้ายุคใหม่ที่นำเอาระบบ Logistics & Supply Chain มาบริหารจัดการให้ได้รับประโยชน์สูงสุดเพื่อให้การประกอบธุรกิจเป็นไปอย่างสะดวกและได้รับผลสำเร็จคุ้ม ค่ากับการลงทุน
วันที่ 1 (บรรยายโดย อ.วิรัตน์ บาหยัน)
เนื้อหาการอบรมมีดังนี้
– การเตรียมความพร้อมในการดำเนินธุรกิจส่งออกและนำเข้าในระบบโลจิสติกส์ ภายใต้พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ.2560
– หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการนำเข้าตาม พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. 2560
– ความรับผิดในการเสียค่าอากร การคำนวณค่าภาษีอากร
– อายุความในการประเมินอากรหลังการตรวจปล่อย (Post Clearance Audit)
– ความรู้ทางด้านการค้าระหว่างประเทศ (Import -Export Operations)
- สินค้าที่มีมาตรการนำเข้าและส่งออกตามพระราชบัญญัติ ฯ พ.ศ.2558
- สินค้าต้องห้าม-ต้องกำกัด
- สินค้าที่ห้ามนำผ่านและผ่านได้
- สินค้าที่ต้องมีมาตรฐาน
- e-Import : การผ่านพิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการนำเข้า
- หลักเกณฑ์ด้านพิกัดอัตราศุลกากร (HS Code) พิกัดอัตราศุลกากรฮาร์โมไนซ์อาเซียน (AHTN)
- หลักเกณฑ์ด้านราคาศุลกากร Gatt Valuation ในการประเมินภาษีอากรในการนำเข้า
- หลักเกณฑ์การใช้สิทธิพิเศษทางภาษีอากรว่าด้วยการเปิดเสรีทางการค้า
– การยกเว้นหรือลดอัตราอากรสำหรับเขตการค้าเสรี (FTA)
– การตรวจสอบสิทธิก่อนและหลังการนำสินค้าเข้า
– การรับรองแหล่งกำเนิดด้วยตนเอง (Self Certification)
- e-Export: พิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าส่งออก
- การยกเว้นอากรสำหรับของส่งออกแล้วจะนำกับเข้ามาในภายหลัง (สุทธินำกลับ)
- การขอคืนอากรสำหรับสินค้าที่นำเข้ามาแล้วส่งกลับออกไป (Re-Export)
- การคืนอากรสำหรับของที่นำเข้ามาผลิต ผสม ประกอบ บรรจุ หรือดำเนินการด้วยวิธีอื่นใด(มาตรา 29)
- การใช้สิทธิประโยชน์ของคลังสินค้าทัณฑ์บน (Bonded Warehouse) เขตปลอดอากร (Free Zone) เขตประกอบการเสรี (I-EAT Free Zone)
- การขอรับเงินชดเชยค่าภาษีอากรสำหรับสินค้าส่งออก (Tax Coupon)
- ปัญหา ข้อควรระวัง และแนวทางในการแก้ไขข้อผิดพลาดการนำเข้า-ส่งออก
- การรับรองป้องกันภัยจากการก่อการร้ายจากมาตรฐานเออีโอ (AEO) and (C-TPAT)
ดูเเลให้คำปรึกษาหลังอบรมฟรี สำหรับลูกค้าอบรม
วันที่ 2 โดย อาจารย์ มนตรี ยุวชาติ
1 .ความหมายของการประกอบธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ
– ขั้นตอนในการติดตามการทำการค้า และการส่งสินค้าระหว่างประเทศ
– วงจรการชำระเงิน และความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในการชำระเงินระหว่างประเทศ
– เทคนิคในการพิจารณาผู้ซื้อ และผู้ขาย เพื่อไม่ให้เกิดความเสียเปรียบในการทำธุรกรรมการค้าระหว่างประเทศ
2. การเลือกใช้ข้อตกลงในการส่งสินค้าระหว่างประเทศ International Commercial Terms (Incoterms® 2020) ตามเกณฑ์ของ
สภาหอการค้านานาชาติ (International Chamber of Commerce)
– Any Mode : EXW, FCA, CPT, CIP, DAP, DPU, DDP
– Water Mode: FAS, FOB, CFR, CIF.
- 3. รู้จักความหมายของผู้จัดทำเอกสารการค้าระหว่างประเทศ และความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการทำเอกสารผิดพลาด
3.1 เอกสารทางการเงิน (Financial Document)
– Draft or Bills of Exchange
– Promissory Note (P/N)
3.2 เอกสารทางการขนส่ง (Transport Document)
– Bills for Lading
– Multimodal Transport Documents
– Air Waybills
– Railway Receipt
– Truck Receipt
– Courier Receipt
3.3 เอกสารการประกันภัย (Insurance Documents)
– กรมธรรม์ประกันภัย (Insurance Policy)
– ใบรับรองการประกันภัย (Insurance Certificate)
3.3 เอกสารทางการค้า (Commercial Document)
– ใบกำกับสินค้า (Commercial Invoice)
– ใบบรรจุหีบห่อสินค้า (Packing List)
– ใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า (Certificate of Origin)
– ใบวิเคราะห์สินค้า (Certificate of Analysis) ฯลฯ
- กฎเกณฑ์ที่ควรเข้าใจก่อนการทำธุรกรรมการค้าระหว่างประเทศ
- ข้อห้ามในการทำการค้าระหว่างประเทศกับประเทศที่มีความเสี่ยง (High Risks Countries) หรือประเทศต้องห้าม
- สิ่งที่ควรทราบถึงกฎเกณฑ์ภาครัฐในการนำเข้า ส่งออกสินค้านอกเหนือจากกฎเกณฑ์ของกรมศุลกากร
- กรณีศึกษาการพิจารณาข้อพิพาทที่เกิดขึ้นในการทำธุรกรรมการค้าระหว่างประเทศที่ผิดวิธี
ผู้จัด: Tess training
ผู้ติดต่อ: คุณกุ้ง คุณฝน
โทรศัพท์: 0988209929