รายละเอียด
หลักการและแนวความคิด
การจัดการความรู้ ( Knowledge Management: KM ) เป็นสิ่งสำคัญที่บุคคลากรในองค์กรสามารพัฒนาตนเองโดยการสร้างความรู้จากการสร้าผลงานให้กับองค์กร แต่หากความรู้ไม่ได้มีการจัดการให้เป็นระบบย่อมไม่ดีแน่ “คน” ถือเป็นแหล่งความรู้ที่สำคัญกับองค์กร เพราะ “คน” ได้รับความรู้มาจากประสบการณ์การทำงาน รวมทั้งวิธีปฏิบัติที่เกิดจากทักษะความสามารถส่วนบุคคลโดยสามารถรวบรวมผ่านวิธีการต่างๆ
หากองค์กรต้องการอยู่รอดและเติบโตอย่างยั่งยืนจำเป็นต้องมีการจัดการกับสภาพแวดล้อมที่ดีเพื่อสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ของบุคคลากรอย่างเป็นระบบ โดยการนำความรู้และประสบการณ์ของบุคคลกรที่ทรงประสิทธิภาพมาจัดการความรู้ (Knowledge Management) มาเป็นเครื่องมือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และนำความรู้เหล่านั้นมาพัฒนาองค์กรให้มีความเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน
หลักสูตรการจัดการความรู้สู่นวัตกรรมเพื่อขับเคลื่อนองค์กร( Knowledge Management: KM ) เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นพัฒนาการเรียนรู้ เพื่อสร้างผู้นำพลังบวก เพื่อดึงศักยภาพของคนมาบรรจุไว้เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดความคิดในการบริหารงาน การบริหารคน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ เพิ่มประสิทธิผล และขีดความสามารถในการแข่งขันได้
หลักสูตรการจัดการความรู้สู่นวัตกรรมเพื่อขับเคลื่อนองค์กร (Knowledge Management: KM) เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นพัฒนาการเรียนรู้ เพื่อสร้างผู้นำพลังบวก เพื่อดึงศักยภาพของคนมาบรรจุไว้เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดความคิดในการบริหารงาน การบริหารคน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ เพิ่มประสิทธิผล และขีดความสามารถในการแข่งขันได้
วัตถุประสงค์
1. เพื่อสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) และการจัดการความรู้ (Knowledge Management) อย่างเป็นระบบเพื่อเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรม และขีดความสามารถขององค์กร
2. เพื่อให้บุคคลกร เรียนรู้ในการใช้เครื่องมือจัดการความรู้ รวมทั้งการจดทำแผนปฏิบัติการความรู้ในองค์กร
3. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมจัดเก็บรวบรวมความขององค์กร บุคลากร จัดทำเป็นเอกสารเพื่อให้คนในองค์กรเข้าถึงความรู้และสามารถนำไปใช้ประโยชน์เพื่อส่งเสริมพัฒนาองค์ให้ดียิ่งขึ้น
คุณสมบัติผู้เข้าอบรม (Target Participants)
ผู้ทำงานเกี่ยวกับด้านบริหารคน บริหารงาน พัฒนาองค์กร
ผู้บริหาร ผู้นำทุกระดับ
รายละเอียดเนื้อหาของหลักสูตร (Course Outline)
Check in ก่อนเรียนรู้
กรอบแนวคิดองค์กรแห่งการเรียนรู้ และการจัดการความรู้
ความหมาย และความสำคัญขององค์กรแห่งการเรียนรู้ และการจัดการความรู้
ลักษณะขององค์การแห่งการเรียนรู้
การใช้กลยุทธ์ในการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้
7 ขั้นตอนในกระบวนการจัดการความรู้
– 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification)
– 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition)
– 3. แนวทางการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ (Knowledge Organization)
– 4. การประมวลกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement)
– 5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access)
– 6. การแลกเปลี่ยนและแบ่งปันความรู้ (Knowledge Sharing)
– 7. การเรียนรู้ (Learning)
เครื่องมือในการจัดเก็บและรวบรวมความรู้เพื่อให้บุคลากรในองค์กรสามารถเข้าถึงข้อมูลอย่างเป็นระบบและนำไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
– Workshop 1: การบวนการจัดการเรียนรู้ 7 ขั้นตอน in Practice
การนำเครื่องมือในการจัดการความรู้
– 1. การเพิ่มศักยภาพของตนเอง (Personal mastery)
– 2. การมุ่งสะท้อนความคิด (Mental models)
– 3. การมีส่วนร่วมทางความคิด (Share vision)
– 4. การทำงานร่วมกัน (Team learning)
– 5. การคิดอย่างเป็นระบบ (System thinking)
– Workshop 2: Group Coaching by Points of You
การสื่อสารการประยุกต์ใช้องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร
ปัจจัยสนับสนุน และตัวชี้วัดความสำเร็จในการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ และการจัดการความรู้ประสบผลสำเร็จ
– Workshop 3: การบวนการ CFR in Practice (Conversation, Feedback, Cognition) เพื่อพัฒนาการสื่อสารกันภายในองค์กร (Organization Communication)
Check-out การเรียนรู้ ถาม-ตอบ
รูปแบบการการอบรม (Methodology)
การบรรยาย Coaching กิจกรรมการเรียนรู้ และ การอภิปรายกลุ่ม
ผู้จัด: Tess training
ผู้ติดต่อ: คุณกุ้ง คุณฝน
โทรศัพท์: 0988209929